มิติหุ้น – EIC คาด กนง. คงดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.5% ต่อเนื่องในปี 2021
· กนง. มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้
· กนง. ประเมินว่า สภาพคล่องโดยรวมอยู่ในระดับสู
· EIC มองว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้
· การดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ
กนง. มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้
- เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้ แต่ต่ำกว่าประมาณการเดิม เนื่องจากในระยะสั้นได้รั
บผลกระทบจากการระบาดระลอกใหม่ COVID-19 ซึ่งมาตรการควบคุมการระบาดมีของ ความเข้มข้นและกว้างกว่าที่ 2022 ก็มีแนวโน้มต่ำกว่าที่ประเมินไว้เดิม นอกจากนี้ จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ และรายจ่ายของภาครัฐในปี งบประมาณ ประมาณการไว้ อย่างไรก็ดี ผลกระทบนั้นไม่รุนแรงเท่ากั บการระบาดระลอกแรกจากมาตรการควบ คุมการระบาดที่ไม่เข้มงวดเท่ าครั้งก่อน ผนวกกับเศรษฐกิจยังได้รั บแรงกระตุ้นจากมาตรการของภาครั ฐที่ออกมาได้เร็วและตรงจุด และการส่งออกที่ฟื้นตัวดีขึ้ นในเกือบทุกหมวดสินค้า - การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังมี
ความไม่แน่นอนสูง และการฟื้นตัวของแต่ โดยในระยะสั้นการฟื้นตัละภาคเศรษฐกิจมีความแตกต่างกั นมากขึ้น วของเศรษฐกิจขึ้นอยู่กั COVID-19 ระลอกใหม่ ขณะที่ในระยะถัดไปขึ้นอยู่กับสถานการณ์และมาตรการควบคุ มการแพร่ระบาดของ บการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่ COVID-19 แรงสนับสนุนจากภาครัฐที่เพีางชาติ ประสิทธิผลและการกระจายวัคซีนป้ องกัน ยงพอและต่อเนื่อง และตลาดแรงงานที่เปราะบางขึ้น ทำให้จำนวนผู้ว่างงานและเสมื อนว่างงานมีแนวโน้มสูงขึ้ นในระยะสั้น นอกจากนี้ การฟื้นตัวของแต่ละภาคเศรษฐกิ จที่แตกต่างกันมากขึ้นจะส่งผลต่ อความยั่งยืนของการเติ บโตทางเศรษฐกิจในระยะต่อไป - ระบบการเงินมีเสถียรภาพแต่มี
ความเปราะบางมากขึ้นในบางจุ โดยเฉพาะกลุ่มครัวเรือนที่มีดจากผลกระทบของการระบาดระลอกใหม่ รายได้น้อยและธุรกิจ SMEs - อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะกลับเข้
าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงกลางปี 2021 และจะอยู่ใกล้เคียงกับขอบล่างของกรอบเป้าหมายตลอดช่ วงประมาณการ โดยการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้ อในระยะปานกลางยังยึดเหนี่ยวอยู่ ในกรอบเป้าหมาย
กนง. ประเมินว่าสภาพคล่องโดยรวมอยู่
กนง.ระบุว่าความต่อเนื่
ธปท. ได้ประเมินกลุ่มธุรกิจที่จำเป็
- กลุ่มที่มีรายได้ลดลงมากทั้
งสองช่วงคือ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับภาคการท่ องเที่ยวต่างประเทศ เช่น ธุรกิจโรงแรม สายการบิน และคอนโดฯ ที่เน้นลูกค้าต่างชาติ และมีอุปทานส่วนเกินค่อนข้างสูง โดยธุรกิจกลุ่มนี้ยังต้องเผชิ ญกับความไม่แน่นอนต่อช่ วงเวลาในการเปิดประเทศและอั ตราการฟื้นตัวของนักท่องเที่ ยวต่างชาติ - กลุ่มธุกิจที่มีรายได้ลดลงชั่
วคราวในช่วงการระบาดระลอกใหม่ คือ ธุรกิจค้าปลีก ร้านอาหาร และธุรกิจก่อสร้างของ SME โดยสองกลุ่มที่กล่าวไปข้างต้นนี้ต้องการมาตรการช่วยเหลือที่ “เหมาะสม ตรงจุด และเพียงพอ” ในระยะต่อไป
กนง. ยังคงให้น้ำหนักกับการสนับสนุ
EIC มองว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโม้มฟื้
- เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มขยายตั
วชะลอลงในไตรมาสแรกปีนี้ แต่จะกลับมาฟื้นตัวได้ โดยการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกมีตามคาดในไตรมาสสองเป็นต้นไป ทำให้การส่งออกไทยอาจขยายตัวต่ำ กว่าคาดการณ์เดิมเล็กน้อย แนวโน้มชะลอลงในช่ 2021 จากการระบาดระลอกใหม่ของ COVID-19 ในหลาย ๆประเทศ ทำให้ภาครัฐต้องดำเนิวงไตรมาสแรกของปี นมาตรการควบคุมโรคที่เข้มงวดขึ้ 2 เป็นต้นไป คาดว่าเศรษฐกิจโลกจะสามารถกลัน อย่างไรก็ดี ภาครัฐของหลาย ๆ ประเทศรวมถึงไทยต่างหลีกเลี่ ยงมาตรการปิดเมืองแบบทั่วประเทศ ทำให้ภาคการผลิตยังสามารถดำเนิ นการได้ นอกจากนี้ ภาครัฐยังได้ออกมาตรการกระตุ้ นเศรษฐกิจเพิ่มเติม ทำให้ ผลกระทบของการระบาดระลอกใหม่ต่ อเศรษฐกิจโลกจะมีน้อยกว่ าการระบาดระลอกแรก สำหรับในไตรมาสที่ บมาฟื้นตัวได้ตามคาด จากการฉีดวัคซีนในบางประเทศ และแนวโน้มการผ่อนคลายมาตรการปิ IMF ได้ปรับประมาณการการขยายตัดเมือง โดย วของเศรษฐกิจโลกปี 2021 เป็น 5.5% (จาก 5.2%) และคาดว่าการค้าโลกปี 2021 จะขยายตัวที่ 8% ด้วยแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่อาจชะลอลงในไตรมาสแรก ประกอบกับปัญหาการขาดแคลนตู้ EIC จึงปรับคาดการณ์ส่งออกไทยเป็คอนเทนเนอร์ของผู้ส่งออกไทย นขยายตัวที่ 4.0% (จากเดิมที่เคยคาดไว้ที่ 4.7%) - ภาคการท่องเที่ยวไทยจะยังไม่ฟื้
นตัวนัก เนื่องจากการเปิดประเทศของกลุ่ EIC คาดว่าไทยจะเริ่มเปิดรับนักท่มนักท่องเที่ยวหลักของไทยมี แนวโน้มช้ากว่าคาด องเที่ยวต่างชาติ โดยไม่ต้องกักตัวในไตรมาสที่ 3 ปี 2021 ให้กับนักท่องเที่ยวที่ได้รับการฉีดวัคซีนและต้องผ่ 4 ของปี 2021 ซึ่งช้ากว่าที่เคยคาดไว้เดิม ดังนั้น EIC จึงคาดว่าจะมีจำนวนนักท่องเที่านการตรวจไม่พบเชื้อไวรัสในร่ างกายแล้วเท่านั้น ทั้งนี้ กลุ่มประเทศที่ฉีดวัคซีนให้ ประชากรได้เป็ นจำนวนมากในไตรมาสที่ 3 ของปี 2021 ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศพัฒนาแล้ วที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริ กาเหนือ ซึ่งมีสัดส่วนการเดินทางมาท่ องเที่ยวในไทยไม่มากนัก แต่ประเทศในเอเชีย (ซึ่งมีสัดส่วนราว 3 ใน 4 ของจำนวนนักท่องเที่ยวที่ มาไทยทั้งหมด) จะมีภูมิคุ้มกันหมู่ล่าช้ากว่ านั้น โดยคาดว่าทางการจีนจะอนุญาตให้ ประชาชนของตนเดินทางไปต่ างประเทศได้อีกครั้งอย่างเร็ว
ในไตรมาสที่ยวต่างชาติในปี 2021 เพียง 3.7 ล้านคน - การระบาดรอบใหม่ในไทยจะส่
งผลกระทบต่อการบริโภคภาคเอกชน โดยคาดว่าผลกระทบจะน้อยกว่ โดยภาครัฐไทยได้ดำเนิาการระบาดในรอบแรก แต่มีแนวโน้มซ้ำเติมปัญหาแผลเป็ นทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ก่อนหน้า นมาตรการควบคุ SME และแรงงานในธุรกิจด้านบริการที่มการระบาดในแนวทางที่สอดคล้องกั บต่างประเทศ และภาคธุรกิจไทยก็ได้ปรับตัวรั บมือกับการระบาดแล้วเช่นกัน อีกทั้งยังมีเม็ดเงินจากภาครั ฐและมาตรการทางการเงินที่ช่ วยพยุงเศรษฐกิ จและบรรเทาผลกระทบจากรายได้ที่ ขาดหายไปของครัวเรือนได้ระดั บหนึ่ง ทำให้ผลกระทบต่ออุปสงค์ ภายในประเทศน่าจะไม่รุนแรงเท่ ากับการระบาดระลอกแรก อย่างไรก็ดี ผลจากการแพร่ระบาดรอบใหม่นี้ อาจซ้ำเติมปัญหาแผลเป็ นทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะผู้ ประกอบการ มีความเปราะบางอยู่แล้ว
ด้วยเหตุนี้ กนง. จึงน่าจะคงอัตราดอกเบี้
คู่ค้าคู่แข่ง ซึ่งอาจกระทบต่อการฟื้นตัวของอุ
การดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ
- มาตรการภาครัฐจะมีบทบาทสำคัญต่
อการพยุงเศรษฐกิจมากขึ้น โดยการดำเนินนโยบายควรจะมุ่งเป้าช่วยเหลือกลุ่มผู้ที่ได้รั COVID-19 4 หมื่นล้านบาท และงบกลางเพื่อกรณีฉุกเฉิน 9.9 หมื่นล้านบาท)บความเดือดร้อนเป็นพิเศษ ซึ่งในปัจจุบัน ภาครัฐยังมีเม็ดเงินที่ สามารถพยุงเศรษฐกิจได้คิดเป็ นวงเงินราว 6.4 แสนล้านบาท แบ่งเป็นเม็ดเงินจาก พรก. กู้เงิน 1 ล้านล้านบาท ที่เหลือราว 5 แสนล้านบาท และเม็ดเงินในส่วนของงบกลางอี กประมาณ 1.4 แสนล้านบาท (งบกลางเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รั บผลกระทบจาก - นโยบายการเงินอาจถูกผ่อนคลายเพิ่
มเติมผ่านเครื่องมืออื่ โดยล่าสุด ธปท. ได้ต่ออายุมาตรการช่วยเหลือลูนนอกจากดอกเบี้ยนโยบาย กหนี้ออกไปจนถึงมิถุนายน ปี 2021 ซึ่งมาตรการนี้จะช่วยเหลือลู (ไม่ได้ให้การช่วยเหลือเป็กหนี้ที่ได้รับผลกระทบเป็ นรายกรณีไป นการทั่วไป ) จึงอาจช่วยบรรเทาผลกระทบของการแพร่ soft loan) เพื่อจูงใจให้มีการปล่อยกู้ระบาดต่อครัวเรือนได้ตรงจุดกว่ าการลดอัตราดอกเบี้ยเป็นการทั่ วไป ที่อาจส่งผลต่อเสถียรภาพสถาบั นการเงิน และประสิทธิภาพของการส่งผ่ านนโยบายอีกด้วย สำหรับในระยะต่อไป คาดว่าอาจมีการผ่อนคลายเกณฑ์ ของมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ( มากขึ้น โดยอาจมีการพิจารณาเพิ่มวงเงิ นที่สถาบันการเงินสามารถปล่อยกู้ ได้ ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ของสถาบันการเงิน และรัฐบาลอาจ
เข้ามาช่วยชดเชยความเสียหายมากขึ้น